« ตอบกลับ #690 เมื่อ: กันยายน 22, 2010, 06:18:33 PM »
บันทึกการเข้า
ADDICTION co., ltd. 69/211 Soi.Pandintong 36 Tiwanon rd. Muang Nontaburi 11000 tel. 02 950 4100 fax. 02 950 3800
« ตอบกลับ #691 เมื่อ: กันยายน 22, 2010, 06:20:41 PM »
ตอบคำถามครับ 1. เอกสารส่งได้ช้าสุด วันที่ 25 กันยายน 2553 2. สำหรับผู้ที่ทะเบียนไม่ทันจริงๆ กรุณาโทรหาผมด่วน ที่ JACK 081 849 9670
ได้รับเอกสารแล้ว มีดังนี้ 01. คุณ พรชัย เอี่ยมพิบูลย์วัฒนา มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 02. คุณ ธงชัยอนันท์ ธรรมพานันท์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 03. คุณ ยุทธพงศ์ สุขประสงค์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 04. คุณ สัจจะ ฉันทะสันติธรรม มัดจำแล้ว Tel: 081 831 6387 05. คุณ ธนกกฤต นราลัย มัดจำแล้ว Tel: 081 639 9411 06. คุณ ชาตรี ตัวสม มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 07. คุณ นพดล สุเมธลักษณ์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 08. คุณ ศักดิ์สิทธิ์ พันธุฟัก มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 09. คุณ พิสิฐ ศิลาวัชนาไนย มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 10. คุณ อภิชาติ ระวีวรรณ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 11. คุณ บุญพา เพิ่มชีลอง มัดจำแล้ว Tel: 081 847 9576 12. คุณ จิระวิชชุ์ จิตต์ดี มัดจำแล้ว Tel: 081 442 2865 13. คุณ อรุณ เสถรียรวุฒิชาญ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (ยกเลิก) คุณ โชติ (แทน) 14. คุณ สุรชัย คล้ายหิรัญ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 15. คุณ ภควัต ลาภผลทรัพย์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 16. คุณ พลกฤษณ์ จันทรโสภาคย์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 17. คุณ ปานใจ วงศ์วิริยะ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (คนซ้อน) 18. คุณ มีพร ยวงเงิน มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 19. คุณ อรรถพันธ์ ปริวราพันธ์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 20. คุณ ปณิธาน ยิ่งใหญ่ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 21. คุณ อิสราภรณ์ กลันทกพันธ์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (คนซ้อน) 22. คุณ ทรงพร วงศ์พิบูล มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 23. คุณ รัชนก วงศ์พิบูล มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (คนซ้อน) 24. คุณ ก้องเกียรติ นาสิมมา มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 25. คุณ จิรัฐิ์ นิคมรัตน์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 26. คุณ เจริญพันธุ์ กรมใหญ่ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 27. คุณ ปวเรศ อุทัยนนท์ศิริศรี มัดจำแล้ว Tel: 089 110 7031 28. คุณ ภพ สุขเทพ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 29. คุณ เอกพงศ์ ด้วงกิจ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (ขอหนังสือยินยอมให้ออกนอกราชอาณาจักรของลิสสิ่งด้วยครับ) 30. คุณ ภรันยู ประดิษฐ์ทรัพย์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 31. คุณ สมชาย ไฝศิริ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 24, 2010, 02:46:23 PM โดย Jackpot »
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #692 เมื่อ: กันยายน 22, 2010, 08:23:16 PM »
[youtube=425,350]http://www.youtube.com/watch?v=OmUyEf-UBWc&feature=player_embedded#![/youtube]
|
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #693 เมื่อ: กันยายน 22, 2010, 08:34:08 PM »
29. คุณ เอกพงศ์ ด้วงกิจ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (ขอหนังสือยินยอมให้ออกนอกราชอาณาจักรของลิสสิ่งด้วยครับ)
เอกสารกำลังเดินทางครับ 
|
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #694 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 08:41:11 AM »
ก้องเกียรติ นาสิมมา เอกสารกำลังเดินทางเช่นเดียวกันครับ EH646682783TH boogie ถาม...(เล่นๆ) เสื้อ size XXL = รอบอก 48? 
|
บันทึกการเข้า
ADDICTION co., ltd. 69/211 Soi.Pandintong 36 Tiwanon rd. Muang Nontaburi 11000 tel. 02 950 4100 fax. 02 950 3800
« ตอบกลับ #695 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 08:57:16 AM »
พี่โจ้ พี่อู้ครับ พี่เอ็ดดี้ที่ยกเลิกอีกท่าน ชื่อจริงชื่ออะไรครับ จะได้แทนท่านต่อไปได้ถูกต้องครับ
|
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #696 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 10:41:27 AM »
พี่โจ้ พี่อู้ครับ พี่เอ็ดดี้ที่ยกเลิกอีกท่าน ชื่อจริงชื่ออะไรครับ จะได้แทนท่านต่อไปได้ถูกต้องครับ
ทวิรัช ครับ
|
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #697 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 12:17:09 PM »
เอา ใครจะไป ได้อีกคนนึง นะครับ ลงชื่อโอนเงินเลย
|
บันทึกการเข้า
โลกก็สวยดี ถ้ามองแบบสวยๆ 
« ตอบกลับ #698 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 04:16:15 PM »
ยินดีด้วยก้อง.....เราจะได้ไปกินปลาด้วยกัน......อิอิ
|
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #699 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 04:54:19 PM »
ตอบคำถามครับ 1. เอกสารส่งได้ช้าสุด วันที่ 25 กันยายน 2553 2. สำหรับผู้ที่ทะเบียนไม่ทันจริงๆ กรุณาโทรหาผมด่วน ที่ JACK 081 849 9670
ได้รับเอกสารแล้ว มีดังนี้ 01. คุณ พรชัย เอี่ยมพิบูลย์วัฒนา มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 02. คุณ ธงชัยอนันท์ ธรรมพานันท์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 03. คุณ ยุทธพงศ์ สุขประสงค์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 04. คุณ สัจจะ ฉันทะสันติธรรม มัดจำแล้ว Tel: 081 831 6387 05. คุณ ธนกกฤต นราลัย มัดจำแล้ว Tel: 081 639 9411 06. คุณ ชาตรี ตัวสม มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 07. คุณ นพดล สุเมธลักษณ์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 08. คุณ ศักดิ์สิทธิ์ พันธุฟัก มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 09. คุณ พิสิฐ ศิลาวัชนาไนย มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 10. คุณ อภิชาติ ระวีวรรณ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 11. คุณ บุญพา เพิ่มชีลอง มัดจำแล้ว Tel: 081 847 9576 12. คุณ จิระวิชชุ์ จิตต์ดี มัดจำแล้ว Tel: 081 442 2865 13. คุณ อรุณ เสถรียรวุฒิชาญ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (ยกเลิก) คุณ โชติ (แทน) 14. คุณ สุรชัย คล้ายหิรัญ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 15. คุณ ภควัต ลาภผลทรัพย์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 16. คุณ พลกฤษณ์ จันทรโสภาคย์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 17. คุณ ปานใจ วงศ์วิริยะ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (คนซ้อน) 18. คุณ มีพร ยวงเงิน มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 19. คุณ อรรถพันธ์ ปริวราพันธ์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 20. คุณ ปณิธาน ยิ่งใหญ่ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 21. คุณ อิสราภรณ์ กลันทกพันธ์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (คนซ้อน) 22. คุณ ทรงพร วงศ์พิบูล มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 23. คุณ รัชนก วงศ์พิบูล มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (คนซ้อน) 24. คุณ ก้องเกียรติ นาสิมมา มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 25. คุณ จิรัฐิ์ นิคมรัตน์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 26. คุณ เจริญพันธุ์ กรมใหญ่ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 27. คุณ ปวเรศ อุทัยนนท์ศิริศรี มัดจำแล้ว Tel: 089 110 7031 28. คุณ ภพ สุขเทพ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 29. คุณ เอกพงศ์ ด้วงกิจ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (ขอหนังสือยินยอมให้ออกนอกราชอาณาจักรของลิสสิ่งด้วยครับ) 30. คุณ ภรันยู ประดิษฐ์ทรัพย์ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX (รอเอกสารเพิ่มเติม) 31. คุณ สมชาย ไฝศิริ มัดจำแล้ว Tel: 08X XXX XXXX 32. คุณ อภิชัย นิลชาติ มัดจำแล้ว Tel: 084 392 9090
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 24, 2010, 02:47:10 PM โดย Jackpot »
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #700 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 04:59:22 PM »
ยินดีด้วยก้อง.....เราจะได้ไปกินปลาด้วยกัน......อิอิ
ไม่รู้ว่าจะคาวมากมั้ยอ้าาา .... 
|
บันทึกการเข้า
ADDICTION co., ltd. 69/211 Soi.Pandintong 36 Tiwanon rd. Muang Nontaburi 11000 tel. 02 950 4100 fax. 02 950 3800
« ตอบกลับ #701 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 06:20:17 PM »
เที่ยวไกล รึ ใกล้ สุขใจไปกับม่วนชื่นทัวร์ ฮาเล่ย์ฯตะลุยหลวงพระบาง แค่ไปเที่ยวหลวงพระบางทำไมถึงต้องเตรียมพร้อมขนาดนี้ เพราะพวกเราไม่ได้เดินทางท่องเที่ยวตามปกติทั่วไปเหมือนทัวร์คณะอื่น เราใช้สองล้อเป็นพาหนะในการเดินทาง ดั้งนั้นการเตรียมการของพวกเราก็ย่อมจะแตกต่างกว่าของคนอื่นด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเส้นทาง, ร่างกาย, จิตใจ, ยานพาหนะ, อุปกรณ์ความปลอดภัยต่างๆ เพื่อให้การเดินทางนี้มีความสะดวกสบาย และปลอดภัยสูงสุด เที่ยวให้ได้มากที่สุดด้วย
นอกจากนี้ การที่เราเดินทางท่องเที่ยวไปยังต่างบ้าน ต่างเมือง ก็เพราะหวังว่าจะได้เห็นและซึบซับวัฒนธรรมของที่ที่เราไป ซึ่งย่อมต้องแตกต่างกว่าบ้านของเราแน่ๆ ดังนั้นถ้าจะเที่ยวให้สนุก เราก็ควรจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานกับสิ่งที่เราจะต้องไปเผชิญร่วมกันในทริปนี้ด้วย
1. เส้นทาง : สภาพถนนตลอดเส้นทางจนถึงหลวงพระบาง สภาพถนนตลอดเส้นทางจนถึงหลวงพระบางเป็นทางราดยางมีสองเลน รถวิ่งสวนกันไป - มา แต่ไม่ค่อยมีไหล่ทาง บ้านเรือนผู้คนก็จะปลูกริมถนนสลับกับทุ่งนาและป่าเขา เส้นทางต่อจากนี้ จะเป็นการวิ่งบนเขาอย่างเดียวจากกาสี ผ่านเมืองพูคูน เมืองกิ่วกะจำ เมืองเชียงเงิน และสุดท้ายปลายทางที่หลวงพระบาง เส้นทางจะคดเคี้ยวไปมาตามหุบเขา ใครที่เคยไปเที่ยว อ.ปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ขอบอกว่าเส้นทางเวียงจันทน์ – หลวงพระบาง ช่วงออกจากเมืองกาสีโหดยิ่งกว่า โค้งเยอะกว่า ซึ่งคงไม่สามารถบรรยายความรู้สึกออกมาได้หมดจนกว่าท่านจะมาสัมผัสเอง จึงจะรู้ คิดง่ายๆ ว่าระยะทางแค่ 385 กิโลเมตร แต่ต้องใช้เวลาถึง 6 - 7 ชั่งโมง (เวลาเดินทางเกือบเท่ากับกรุงเทพ - เชียงใหม่ ซึ่งมีระยะทาง 700 กว่ากิโลเมตรเลยทีเดียว)
2. ด้านจิตใจ : อันนี้ผมเชื่อว่า ทุกท่านที่ซื้อรถคันละหลายๆแสน มาขี่แล้ว อีกทั้งยังยอมจ่ายตังค์เพื่อมาขี่กับทัวร์ “ฮาเล่ย์ตะลุยหลวงพระบาง” ด้วยแล้วละก็ด้านจิตใจ ผมขอจบเพียงเท่านี้ครับ เพราะมั่นใจว่าทุกท่าน “มีใจ” แน่นอนครับ
3. การเตรียมความพร้อมของคู่ขาคันโปรดครับ : หลายๆ ท่านในที่นี้ ต้องมีความสามารถในการดูแลรถ ความเข้าใจในระบบของรถนั้นๆมากกว่าผมเป็นแน่แท้ ดังนั้นผมไม่อยากให้พวกท่านคิดว่าจะเป็นการสอนจรเข้ว่ายน้ำเลยนะครับ ขอให้คิดว่าเป็นการเตรียมตวามพร้อมอย่างนึงละกัน หัวข้อนี้ถ้าจะให้ผมจัดความสำคัญของมันก็จะจัดได้ว่ามีความสำคัญต่อทริปนี้มากครับสนุกหรือไม่สนุกก็เจ้ารถนี้แหละ ปลอดภัยหรือไม่ก็รถอีกเหมือนกัน อย่างน้อยรถต้องมีความพร้อมและสมบูรณ์ครับ (การขี่ไปซ่อมไปไม่สนุกแน่ ยิ่งถ้าที่ต่างแดนด้วยละก็!!!!) รถของหลายๆท่าน คงยังค่อนข้างใหม่ เป็นรถปีใหม่ๆซะส่วนใหญ่ แต่อาจจะขี่น้อยหรือนานๆจะได้นำออกมาขี่สักครั้ง
ดังนั้นก่อนการเดินทาง ทางกระผมและทีมงานขอแนะนำให้ท่านทั้งหลาย ได้นำรถคันโปรดออกมาวิ่งเล่นสักหน่อย ดูว่ามีอะไรทำงานไม่สมบูรณ์หรือเปล่า จะได้แก้ปัญหาให้เรียบร้อยก่อนจะเดินทางเพื่อให้ทริบนี้พวกมีเวลาขี่รถมากๆ เก็บภาพสวยไกลับมาเยอะๆครับ สิ่งที่ควรจะดูแลเบื้องต้น ได้แก่ 1. สายพานครับ เพราะผมมั่นใจว่าที่ลาวไม่มีขายแน่นอน ตรวสสอบสภาพของสายพาน ว่ามีร่องรอยชำรุด ปริแตก ร้าว หรือไม่, ระดับความตึงของสายพาน 2. ยาง สำคัญมากเช่นกัน ก่อนอื่นถามตัวเองก่อนเปลี่ยนมานานแล้วหรือยัง ยางชุดนี้วิ่งมากี่กิโลแล้ว สภาพเนื้อยางเป็นอย่างไรบ้าง ถ้าหากว่าแข็งหรือใกล้จะหมดดอกแล้วแนะนำให้เปลี่ยนก่อนเดินทางนะครับ เพราะยางคือจุดสัมผัสเดียวระหว่างรถกับพื้นครับ/ ถ้ายางยังสดใหม่ก็ตรวจเช็คระดับแรงดันลมยางให้ได้ตาม Spec ด้วยนะครับ 3. แบตเตอรี่ และ ระบบไฟ ถ้าแบตไม่ดีแล้วจะเข็นกันเหนื่อยครับ อายุทั่วไปของแบตอยู่ที่ประมาณปีครึ่งครับ แล้วแบตเนี่ย ชอบเสียแบบไม่มีการเตือนล่วงหน้าด้วยนะครับ โดยเฉพาะ รถที่จอดมากกว่าใช้นะครับ 4. ผ้าเบรค ชิ้นส่วนเล็กๆ แต่ มีความสำคัญมาก ตรวจสอบได้ง่าย อันนี้มักจะลืมกันเป็นส่วนใหญ่ เพราะความที่มันดูแลง่ายนี่เองครับ 5. ของเหลวต่างๆ เช่น ระดับน้ำมันเครื่อง น้ำมันเบรค ระยะเวลาที่เปลี่ยนถ่ายครั้งก่อนด้วยนะครับ เพราะน้ำมันเครื่องเมื่อ สัมผัสอากาศแล้วก็จะค่อยๆทำลายตัวเองครับ เหมือนนมสดเลยครับพอสัมผัสกับอากาศก็จะเริ่มโหมดทำลายตัวเองโดยอัตโนมัติ
สุดท้ายของข้อนี้นะครับ ขอเป็นค่าคุ้นเคยที่เคยใช้ละกัน รุ่นใหญ่ (ผู้อาวุโส) ถ้าขี่ไปซ่อมไป ไม่สนุกแน่ๆ ครับ ยิ่งหากต้องรออะไหล่หรือต้องแบกกลับด้วยละก็ เฮ้อ พากันเบื่อแน่นอน
4. ความพร้อมด้านร่างกาย : ได้โปรดอย่าเพิ่งเบื่อนะครับ ก็เพราะว่าเราเที่ยวไม่เหมือนชาวบ้านที่ซื้อทัวร์เที่ยวทั่วไปนี่ครับ เราขี่ม้าเหล็กเที่ยวกัน ดั้งนั้นเราคงจะต้องเหนื่อยกว่าคนทั่วไปแน่ๆ ครับ สำหรับคนที่เล่นกีฬาออกกำลังกายเป็นประจำนั้นไม่น่าห่วงครับ (ซึ่งน่าจะเป็นส่วนน้อย) ส่วนใหญ่พวกเรา ( biker) ก็ปาร์ตี้ ปี้ กินเหล้าอยู่ตลอดเวลาเป็นธรรมดา เพราะนี่คือ life Style แนว Haley ครับ ไอ้การที่ผมจะบอกพวกท่านว่า “เลิกเหอะ” เรื่องเหล้าเรื่องปาร์ตี้เนี่ยมันคงไม่ถูกต้องหรอกครับ แล้วพวกท่านก็คงไม่ยอมด้วยเช่นกัน ดังนั้นผมเพียงอยากจะบอกว่าก่อนการเดินทางก็เพลาๆกันนิดนึงน่ะครับ สักวันสองวันก่อนการเดินทาง อาจจะนอนกันไวนิดดื่มน้อยลงหน่อยเพราะเราต้องตื่นเช้าและขี่รถกันเกือบทั้งวันเลยนะครับ จะได้สดชื่นครับ แต่หากใครได้ฟิตสักหน่อย 2-3 อาทิตย์ก่อนการเดินทางก็จะยิ่งดี เพราะเมื่อร่างกายเราดีพอไปถึงที่หมาย ก็จะสามารถ ลั้นลา ได้มากกว่าคนอื่นนะครับ รับรองพรรคพวกอิจฉาแน่นอน สิบอกไห่ ครับ
อ้อเกือบลืมอีกข้อ อย่าลืมยาสามัญประจำตัวด้วยนะครับสำหรับท่านที่ต้องทานยาเป็นประจำ เช่นพวกเม็ดสีฟ้าเล็กๆ อะไรประมาณเนี้ย (ล้อเล่นครับ พวกยา เบาหวาน ความดัน ถ้ามีนะครับ) ยาบางอย่างเราอาจหาไม่ได้ที่ลาวครับ
5. อุปกรณ์ความปลอดภัย : อย่าเพิ่งงงนะครับว่าจะทำไมจะขี่รถเที่ยว ถึงต้องใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยด้วย ใช้อุปกรณ์แล้วปลอดภัยจริงหรือ ขอตอบเลยว่าน่าจะจริงครับ อุปมาก็เหมือนใส่ถุงยางแล้วจะปลอดเอดส์แน่หรือ คำตอบก็คือแน่กว่า 99.99 เปอร์เซนต์ ถ้าถุงไม่แตกประมาณนี้ครับ ตามความคิดของผม Haley-Davidson เป็นรถที่สวยและมีเสนห์มาก ยิ่งบวกกับประวัติของรถด้วยแล้วละก็ มันเป็นตำนานบทนึ่งของอเมริกาเชียวครับ และเป็นถึงจิตวิญญานของหลายท่านเลยล่ะครับ ดั้งนั้นเครื่องแต่งกายของผู้ที่ขี่ก็เลยต้องสวยด้วยเช่นกัน แต่สำหรับการเดินทางที่ค่อนข้างไกล บางครั้ง เช่นคราวนี้ความสวยอาจจะต้องยอมแพ้ต่อความสะดวกสบายและความปลอดภัยของผู้ขับขี่นะครับ ลองดูครับว่ามีอะไรบ้าง
5.1 หมวกกันน็อค ควรจะเป็นแบบฟลูเฟส ป้องกันได้ดีที่สุด หรือไม่อย่างน้อยก็เป็นแบบเต็มใบชนิดเปิดหน้าที่มีบังลมก็ยังดีครับ ทริปยาวๆแบบนี้ หมวกกะละกับผ้าเช็ดหน้าไม่แนะนำเป็นอย่างยิ่งครับ เพราะเมื่อความเร็วสูงๆ กรวดเม็ดเล็กๆ กระเด็นมาโดนอาจเจ็บเหมือนโดนไม้ขว้างเลยละ หรือพวกแมลงปีกแข็งก็เจ็บพอๆกันเลย ลองจินตนาการดูนะครับ เอาจริงๆเลยก็ได้ ผมเองนี่แหะครับ ขี่รถที่ความเร็ว140 กิโลต่อชั่วโมง แล้วมีแมลงอะไรก็ไม่รู้พุ่งตรงเข้ามาโดนหน้าชิลด์(ผมใส่ฟูลเฟสนะครับ) ดังแป๊ะ แล้วมีชิ้นส่วนภายในสีเหลืองๆกระจายอยู่เต็มหน้าหมวก มองอะไรก็ลำบาก ต้องจอดครับ ทำความสะอาดหมวกก่อนเดินทางต่อ ลองคิดดูนะครับ ถ้าเป็นแว่นตากับผ้าเช็ดหน้าล่ะครับ???
5.2 ถุงมือ แนะนำชนิดเต็มนิ้วครับ ถ้ามีการ์ดได้ก็ดีเพราะมือต้องเป็นส่วนแรกๆเวลาต้องแลนด์ดิ้งแบบฉุกเฉินซึ่งเป็นสัญชาติญานครับ
5.3 ชุดขี่ อันนี้ก็แล้วแต่ความชอบนะครับจะเป็นแนวไหนก็ตามสะดวก แต่ถ้าให้ดีแล้วละก็จะต้องกระชับรัดกุมพอสมควร มิฉะนั้นเวลาที่ขี่แล้วมันจะต้านลมหรือกระพือ จะทำให้เราเสียแรงและเหนื่อยมากโดยใช่เหตุครับ
อีกอย่างนึงที่ควรพิจารณาก็คือ เสื้อและกางเกงเหล่านั้นสามารถที่จะทนต่อแรงเสียดสีได้มากน้อยแค่ไหนเวลาเราฉุกเฉินด้วยเช่นกันครับ
5.4 รองเท้า โดยส่วนใหญ่เข้าใจว่าน่าจะเป็น Boot ไช่มั้ยครับ ถ้าใช่ก็ไม่ค่อยน่าห่วง แต่ถ้าเป็นพวกผ้าใบเบาบางธรรมดานี่ไม่แนะนำนะครับ เพราะตอนขี่บางทีก็มีอะไรกระเด็นมาโดนเท้าอยู่เช่นกันครับ เจ็บมากด้วย อีกนิดนึงนะครับอย่าลืมรองเท้าที่ใส่สบายไปเดินเล่นที่ลาวด้วยนะ!!
5.5 กระเป๋าและสัมภาระ ในกรณีของรถ Bagster นี้ไม่ค่อยน่าเป็นห่วงเท่าไหร่ครับเพราะน่าจะมีที่เก็บสัมภาระเหลือๆเลย
ส่วนรถที่ไม่มีกระเป๋านี่สิ แค่การมัดของให้แน่นนี่ก็เป็นเรื่องท้าทายเล็กๆแล้ว ยิ่งขาช๊อปปิ้งด้วยด้วยแล้วละก็ขากลับนี่คงต้องมีการซื้อของฝากกันแน่นอนครับ อันนี้ผมขอแนะนำตาข่ายรัดของครับ ของรถเล็กนี่ละครับถูกและสารพัดประโยชน์พวกยางยืดก็ดีไม่แพ้กันครับ ติดรถไว้ไม่เสียหลายครับ
5.6 การสื่อสาร ผมเชื่อว่าหลายๆท่านอาจจะแปลกใจ ปนสมเภทพวกผมว่าขี่รถเที่ยวยังจะต้องมี ว. ด้วยรึ มันจะขี่รถหรือจะคุยกันวะ แต่พวกเรา ( Moon Soon ) ได้เอา ว. มาใช้ในการเดินทางหลายปีแล้วครับ สรุปว่ามีประโยชน์มากๆเลยครับ ยกตัวอย่างเลยละกัน 1. ถ้าปวดฉี่ไม่ต้องอั้นครับ สามารถแจ้งเพื่อนให้รอเราได้ทันที 2. น้ำมันหมดไม่ต้องกลัวเพื่อนได้รับรู้แน่นอน 3. อุปสรรคปัญหาต่างๆ ได้รับรู้กันทั้งหมดครับ เอาไปแค่สามข้อก่อนละกันขี้เกียจพิมพ์ครับ ของแบบนี้ต้องลองถึงจะรู้เองครับผม เอ้าขอแถมเกร็ดเล็กน้อยสักเรื่องละกันครับ “อุปสรรคประจำทาง”
เจ็ก เด็ก หมา กะลา ทราย หลายท่านคงเคยได้ยินมาบ้างไม่มากก็น้อยนะครับ แต่ทางที่เราจะไปนี่ มีอุปสรรคเยอะกว่าอีกนะครับ ที่เยอะกว่านี่ก็คือว่ากันเราว่าเป็น “ฝูง” ครับ ขอเน้นนะครับว่าเป็นฝูง ไม่ว่าอะไรก็เป็นฝูง เริ่มจากฝูงคนก่อนะครับ คือพอเราขี่รถผ่านไปก็จะมีชาวบ้านริมทางวิ่งออกมาดูให้เรา ทำให้พวกเราตกใจเป็นระยะๆครับ นอกจากนี้ก็จะมี หมูครับ “หมูดำ” ประจำท้องถิ่นวิ่งเร็วกว่าหมาครับ แต่ก็ยังไม่เคยมีใครพลาดท่าให้มันนะครับ ต่อมาก็พวกเป็ดไก่ที่ชอบข้ามถนนเป็นขบวนๆครับ ซึ่ง Biker ชาวไทยสังหารไปแล้วหลายศพครับ แล้วที่น่ากลัวสุดๆ คือรถไถ อีแต๋นนี่แหละครับ ชอบโผล่ขึ้นมาจากข้างทางเป็นระยะๆ พอเห็นมันปุ๊บมันมาต่อแน่ๆครับ นี่แหละครับประโยชน์ฯของ ว. แดงที่พวกเราเอามาใช้กัน ขอยกตัวอย่างสั้นๆเช่น พอคันหน้าพบเหตุต้องสงสัยหรืออะไรที่น่าจะไม่ปลอดภัยก็จะสามารถเตือนพวกที่ตามมาได้ทันเวลา ลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุลงไปได้เยอะมากครับ
ทั้งหมดที่เกริ่นมานี้หวังว่าจะมีประโยชน์แก่ท่านบ้างไม่มากก็น้อยนะครับ ผมมั่นใจว่าท่านไม่สามารถหาอ่านที่ไหนได้เพราะผมนั่งเทียนเขียนเองทั้งหมดครับ ยกเว้นในส่วนของเส้นทาง แต่ใช่ว่าผมจะนั่งเทียนเขียนแบบมั่วๆนะครับ ผมเขียนจากประสบการณ์ตรงอันน้อยนิดบนหลังอานของผมและเพื่อนๆครับ ที่เพื่อนได้เดินทางท่องเที่ยวร่วมกันมานาน นานจนมานำพวกท่านออกไปเที่ยวด้วยกันนี่แหละครับ หากท่านมีข้อสงสัยอยากจะซักถามก่อนวันเดินทางละก็ติดต่อ บังแจ๊ค ได้ตลอด 24 ชั่วโมงครับ[/size][/color]
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 23, 2010, 09:37:31 PM โดย cops »
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #702 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 06:36:55 PM »
ไม่ได้ร่วมเดินทางไปด้วย......แต่อ่านแล้วได้ความรู้ดีครับ.....ขอบคุณครับ pray.....เดินทางปลอดภัยครับทุกท่าน number1 number1 number1
|
บันทึกการเข้า
ไม่..จำ..เป็น..ว่า..จะ..ต้อง..กี่..ไมล์ ..แค่..สัม..ผัส..อยู่..บน..นั้น....มัน..ก็..พอ
« ตอบกลับ #703 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 06:44:42 PM »
ชัดเจน และ ต้องอ่านนะครับ number1
|
บันทึกการเข้า
« ตอบกลับ #704 เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 07:07:48 PM »
ผมนะ ฟิตทุกวันพี่ แต่ไหงพุงย้อยเอาๆ ไม่รู้ 5555+
|
บันทึกการเข้า
ขี่ไปวันๆ ไปไหนก็ได้ที่ใจอยากไป สายลม แสงแดด สายฝน
ไม่มีจุดหมาย ไปเรื่อยๆ เหนื่อยก็พัก
อ่าน Blog ของผมด้วยน๊า ชอบใจก็เม้นไปเลย ไม่ชอบใจก็เม้นแรงๆเลย จะได้พัฒนาสิ่งที่ดีสู่ชีวิต
หน้า: 1 ... 45 46 [ 47] 48 49 ... 70
|